ให้นักศึกษาไปศึกษาผู้นำทางวิชาการจากเอกสาร, Internet, การสัมภาษณ์ ในประเด็นดังนี้
1. ประวัติของผู้นำทางวิชาการที่สำคัญ
2. ผลงานของนักวิชาการที่ปรากฏ
3. เราชอบผู้นำทางวิชาการในประเด็นอะไร
4. มีรูปถ่ายสถานที่ประกอบ
ชีวิตและผลงาน
รองศาสตร์จารย์ ดร. ชำนาญ รอดเหตุผล
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ รศ.ดร.ชำนาญ นามสกุล รอดเหตุผล
สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนาพุทธ
สังกัดคณะ ครุศาสตร์
วุฒการศึกษา
พ.ม. กศ.บ.เกียรตินิยมอันดับ ๑ (ภาษาไทย)
กศ.บ. (ภาษาและวรรณคดีไทย)
ที่อยู่ปัจจุบัน
บ้านเลขที่ ๔๘๕ ถนนเกษตรสิน
ตำบลลำพยา อำเภอเมือง จังหวัด นครปฐม ๗๓๐๐๐
โทร. ๐-๓๔๒๕-๔๗๓๗
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : rchamnan@gmail.com
ประสบการณ์สำคัญ
๑.อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
รวม ๓๖ ปี รองอธิบดีรวม ๑๒ ปี
๒.ประธาน กกต. และ กกต.จังหวัดนครปฐมรวม ๘ ปี
๓.ประธานกรรมการพัฒนา และบริหารหลักสูตรปริญญาโท สาขาไทยคดีศึกษา
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
๑. วรรณกรรมไทยลื้อ ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดเชียงราย
๒. ประเพณีทำขวัญและมงคลพจน์ในพิธีแต่งงาน
๓. การสัมมนาการใช้ภาษาในปัจจุบัน
๔. การศึกษาเจตคติและความเข้าใจคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
๕. พระราชอัจฉริยปรีญาแห่งพระมหากษัตริย์ไทย
ในการสร้างสรรค์ภาษาและวรรณกรรม
๖. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างการบริหาร
จัดการที่ดีของกองทุนหมู่บ้านในจังหวัดนครปฐม
๗. การวิจัยทางภาไทย
๘. พระอัจฉริยปรีชญาด้านภาษาและวรรณศิลป์
ผลงานและเกียรติยศที่ภาคภูมิใจ
๑. อาจารย์สอนภาษาไทยคนแรกแก่อาสาสมัครเกหลี ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
๒. หัวหน้าคณะวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยร่วมกับ
CIOFF เผยแพร่ ณ ประเทศต่าง ๆ ทั้งเอเชียและยุโรป
๓. ประธานกรรมการพัฒนาหลักสูตรไทยคดีศึกษา
ระดับศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
๔. รางวัลโล่และประกาศเกียรติคุณ “ครูภาไทยดีเด่น
ระดับอุดมศึกษา”
๕. รางวัลงานวิจัยชนะเลิศ รับพระราชทานจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุมาร
๖. ผลงานวิจัยเกี่ยวกับพระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษรวมทั้งได้ทูลเกล้าฯ ถวายผลงานวิจัยดังกล่าว
๗. หนังสือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพรจ้าอยู่หัว พระอัจฉริยปรีชาญาด้านภาษาและวรรณศิลป์
ประเด็นที่ชอบ ดร. ชำนาญ รอดเหตุผล
ดร. ชำนาญ รอดเหตุผล เป็นผู้ที่มีความรอบรู้เรื่องวรรณคดีเป็นอย่างมากอีกทั้งยังเป็นครูภาไทยดีเด่นระดับอุดมศึกษา และท่านเป็นถึงประธานกรรมการพัฒนาหลักสูตรไทยคดีศึกษา ระดับศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และที่สำคัญท่านสามารถเขียนงานวิจัยเฉลิมพระเกียรติ “พระอัจฉริยปรีชญาด้านภาษาและวรรณศิลป์” จนได้รับรางวัลงานวิจัยชนะเลิศ รับพระราชทานจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร จนทำให้ดิฉันภาคภูมิใจกับผลงานของท่านเป็นอย่างมากเพราะในงานวิจัยมีทั้งความรู้และแนวปฏิบัติของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทุกคนสามารถปฏิบัติตามได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น